Skip to main content

Benjamin Franklin Effect

18 เมษายน 2556

   วันนี้ได้ไปอ่านเจอบทความน่าสนใจเข้าเรื่องหนึ่ง ชื่อว่า

Benjamin Franklin Effect (ผลกระทบแบบ เบ็นจามิน แฟรงกิ้น)

   ความจริงก็ไม่ค่อยเข้าใจเหมือนกันว่ามันคืออะไร พออ่านจบก็สรุปได้สั้นๆว่า สมองของคนเรานั้นมันเก่งเหลือเกิน เก่งจนเกินไป มันปรับตัวมันเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่มันมี หรือพูดง่ายๆได้ว่า มันหลอกตัวมันเองให้อยู่ในสภาวะต่างๆได้ ด้วยเวลาที่ไม่นานมาก เอาล่ะสิคราวนี้มันมาเกี่ยวอะไรกับพี่เบ็นจามิน แฟรงกิ้นล่ะเนี้ย อย่างที่หลายๆคนน่าจะทราบดีอยู่แล้วว่าพี่เบ็นเนี้ยแกเป็นอดีตประธานาธิบดี ของอเมริกา โดยหน้าพี่เค้าอยู่บนแบงค์ร้อยเหรียญ (หัวออกจะล้านๆหน่อย)


   เรื่องของเรื่องก็คือ พี่เค้าเป็นคนที่ฉลาดมาก โดยในสมัยก่อนที่จะขึ้นมาเป็นประธานาธิบดี พี่เค้าก็ทำงานการเมืองท้องถิ่นอยู่ โดยมีคนอยู่คนหนึ่งที่ไม่ชอบพี่เบ็นมากและมักจะมีการโต้เถียง คัดค้านพี่เบ็นอยู่เสมอๆ ในที่สุดพี่เบ็นก็คิดว่าจำเป็นจะต้องทำอะไรสักอย่างเพื่อแก้ไขเรื่องดังกล่าว สิ่งที่พี่เบ็นทำก็คือ ส่งโน๊ตไปให้พี่คนนั้นโดยระบุว่า อยากจะขอยืนหนังสือที่พี่คนนั้นชอบอ่านมากมาอ่าน โดยหลังจากที่พี่เบ็นได้รับหนังสือไปแล้วเป็นเวลา หนึ่งอาทิตย์พี่เบ็นก็ส่งหนังสือกลับไปคืนให้พร้อมกับโน๊ตขอบคุณ พร้อมทั้งชื่นชมเกี่ยวกับหนังสือนั้นไปด้วย 

   หลังจากนั้นเวลาพี่เบ็นพบกันพี่คู่ปรับ พี่เค้าก็ได้พูดคุยกันเป็นอย่างดี โดยเริ่มจากเรื่องราวของหนังสือที่อ่านไป เรื่อยไปจนถึงเรื่องงาน จนในที่สุดพี่เค้าทั้งสองคนก็ได้เป็นเพื่อนรักกัน

   เรื่องนี้บอกอะไรเรา มันบอกเราว่าสมองของเรามันจะไม่ยอมทำอะไรที่มันไม่ชอบ แต่หากเราไม่เปลี่ยนแปลงตัวเราจะสภาพแวดล้อมนั้นๆ สมองของเราก็จะปรับตัวเองเข้าหามัน เช่น ในเรื่องนี้พี่คนที่ไม่ชอบพี่เบ็น แต่ไปยอมให้พี่เบ็นยืมหนังสือ สมองมันก็เริ่มจะงงแล้วว่า "ตกลงเราต้องทำตามที่พี่เบ็นร้องขอใช้มั้ย" จากนั้นพอได้รับโน๊ตพูดคุยถึงในเรื่องเดียวกันกับที่ตัวเองชอบ สมองก็เริ่มที่จะคิดว่าคนที่ชอบเหมือนกันกับเราเป็นคนที่ชอบด้วยเช่นกัน สุดท้ายเลยกลายเป็นสมองที่ปรับเปลี่ยนตัวเอง เพราะไม่ได้ หรือ ไม่สามารถเปลี่ยนสภาพแวดล้อมได้

  ดังนั้นหากคุณอยู่ในสภานที่ หรือสิ่งแวดล้อมที่คุณรู้สึกไม่ชอบ คุณมีทางเลือกง่ายๆแค่สองข้อ
1.) เปลี่ยนแปลงมันซะ ตั้งแต่เดียวนี้ หรือ
2.) ทนไปอีกซักพักเดียว แล้วคุณก็จะไม่รู้สึกอึดอัด หรือไม่ชอบมันอีกต่อไป เพราะสมองของคุณมันได้ปรับเปลี่ยนตัวมันเอง ได้เร็วกว่าที่คุณคิด นั้นคือเหตุผลที่หลายๆครั้งเรามักจะสงสัยว่า ทำไมคนนั้น คนนี้ยอมทนอยู่ในสภาพนั้น สภาพนี้ได้นะ

พร้อมจะเปลี่ยนแปลงแล้วหรือยังครับ 

Comments

Popular posts from this blog

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด หลักการ 5P เป็นหลักการทางด้านการตลาด (จริงๆแล้วมันก็เป็นการขยาย 4P ที่ทุกคนรู้จักกันดีแล้วนั้นเอง) แต่มีการนำมาขยายความในส่วนต่างๆ ให้มากยิ่งขึ้น 1.)  Product / Service (ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ)  :  สินค้าหรือบริการของคุณคืออะไร มุ่งตอบสนองความต้องการหรือช่วยแก้ปัญหาอะไร ทำไมผู้บริโภคถึงต้องการสินค้าของคุณ 2.)  Person (ใคร)  กลุ่มลูกค้าของคุณคือใคร มีลักษณะเฉพาะอย่างไร โดยควรระบุรายละเอียดให้ได้มากที่สุด เช่น อายุ เพศ กำลังซื้อ เพื่อให้สามารถระบุเป้าหมายให้ได้ชัดเจนที่สุด 3.)  Price (ราคา)  มีการกำหนดราคาของสินค้าและบริการไว้อย่างไร มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่ 1 และ 2 หรือไม่อย่างไร และคุณวางตำแหน่งสินค้าของคุณไว้ ณ ตำแหน่งไหนของตลาด เป็นของ แบบกลางๆจะได้รับความสนใจหรือไม่ หรือควรเป็นสิ่งที่มีตำแหน่งทางการตลาดที่ชัดเจนเช่น ดีที่สุด ใหญ่ที่สุด เล็กที่สุด เร็วที่สุด เป็นต้น 4.)  Place (สถานที่)  กลุ่มลูกค้าของคุณจะสามารถเข้าถึง สินค้าและบริการของคุณได้อย่างไร ทางไหน มีความเหมาะสมกับหัวข้อที่ 2 และ 3 หรือไม่อย่างไร 5.)  Promotion (ส่งเสริมกา

ส่วนประกอบของ android แอพพลิเคชัน (Android Application Component)

    ส่วนประกอบของ แอพพลิเคชัน (Application Component) สามารถแบ่งออกได้เป็น ๔ ประเภทดังนี้ ๑. Activity (User Interface)  คือ สิ่งท่ีใช้ในการแสดงผลออกมาเพื่อให้ผู้ใช้งานได้เห็น และได้ใช้งานโดย แต่ละแอปพลิเคชนััน อาจจะมีActivity เดียว หรือหลายๆ Activity และส่ิงที่อยู่ใน Activity นั้นจะเรียกว่า View ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น button, text field, scroll bars, menu items, check boxes และอื่นๆ ๒. Service (Service Provider)  เป็นส่วนที่ไม่มีการแสดงผลแต ถูกเรียกใช้ให้ รันอยู่ในลักษณะของ background process โดย service นั้นอาจจะมีการกระทำ อะไรบางอย่าง เช่น ติดต่อรับส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย หรือคำนวณค่าต่างๆ แล้วทำการส่งข้อมูลไปแสดงยัง Activity ก็ได้ หรือการเปิดเพลงในขณะที่เรากำลังทำงานบน แอพพลิเคชั่นอื่น ๓. Broadcast receiver (DataProvider)  คือ ตัวที่ใช้สำหรับคอยรับและตอบสนองต่อ เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึน เช่น เมื่อแบตเตอรี่ต่ำ ,การเปล่ียนภาษา, มีการโทรออก, มีข้อความเข้าและอื่นๆ ถึงแม้ broadcast receiver จะไม่มีส่วนของการแสดงผลแต่ก็สามารถที่จะเรียก Activity ข้ึนมาแสดงผลให้ผู้ใช้ทราบได้

วิธีการเปลี่ยนบัญชี gmail การลบบัญชี gmail สำหรับ android

การเปลี่ยน gmail สำหรับมือถือ android เป็นปัญหาชวนปวดหัวของเราหลายๆคน ที่เพิ่งจะเปลี่ยนมือถือ หรือไม่ต้องการใช้ gmail หลักของเราไปผูกกับมือถือ android ซึ่งมีความจำเป็นต้องมี gmail ไปผูกไว้ในเครื่องเสมอ    วันนี้ผมจะขอนำเสนอวิธีการในการแก้ gmail ที่ผูกไว้กับเครื่องออกมา โดยสามารถทำได้หลายวิธีตามแต่ความประสงค์ของผู้นำไปใช้ครับ (วิธีการ และผลกระทบย่อมต่างกันออกไปตามแต่ละวิธีครับ) 1.)  เป็นวิธีที่เป็นทางการที่สุดในการแก้ gmail ที่ผูกไว้คือ การทำ Factory Reset  ผลที่จะได้รับคือ เครื่องจะแก้ค่าต่างๆ กลับไปเป็นจุดเริ่มต้นของชีวิตของมันคือ ตอนที่มันออกมาจากโรงงาน gmail, app ต่างๆจะถูกลบไปหมด แน่นอน ข้อมูล รูปภาพใดๆ ที่มีในเครื่องก็จะหายไปหมดด้วย วิธีการ  :  ให้ไปที่   Menu  -->  Setting  -->  Privacy  -->  Factory data reset  รอสักครู่ทุกอย่างก็จะเรียบร้อย คำแนะนำ  :  ต้องทำการสำรองข้อมูล (backup data) ที่จำเป็นทั้งหมดไว้ก่อน เพราะจะถูกลบและเรียกคืนไม่ได้ 2.)  เป็นวิธีการที่ได้ผลกับแค่บางรุ่นเท่านั้น (โดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด) โดยใช้การสร้าง gmail ใหม่เข้าไปในเครื่องแล้วลบ gma