เอฟเฟคกีต้าร์คือ เสียงที่ผสมอยู่กับเสียงกีต้าร์ที่เราฟังเพลง หรือเวลาดูในคอนเสิร์ตต่าง ก็ล้วนแต่มีเสียงเอฟเฟคปนอยู่ทั้งนั้น ไม่มากก็น้อย เช่น ดนตรีแนวร๊อค เราก็จะได้ยินซาวกีต้าร์ที่ร๊อคแสบหู เสียงที่ฟังดูเหมือนกับแตกๆ นั่นแหละ คือเสียงของเอฟเฟค distortion ,overdrive,fuzz เป็นต้น
โดยเอฟเฟคมักจะถูกใช้กับ กีต้าร์ไฟฟ้า electric guitar, คีย์บอร์ด keyboard, หรือ เบสส์ bass หรือการบันทึกเสียงในสตูดิโอ studio
แม้ว่าส่วนใหญ่เรามักจะใช้เอฟเฟคกับเครื่องดนตรีไฟฟ้า หรืออีเลกทรอนิก แต่ความจริงแล้วเอฟเฟคก็ยังสามารถใช้กับเครื่องดนตรี อะคุสติก acoustic instruments และ กลองชุดได้ ตัวอย่างเอฟเฟคที่นิยมใช้กันคือ แป้นวาว wah-wah pedals กล่องเสียงแตก fuzzboxes และกลุ่มรีเวิร์บ reverb units
เวลาท่อนโซโล ก็จะได้ยินหางเสียงกีต้าร์ สะท้อนๆ ยาวๆ นั่นคือเสียง delay,reverb เป็นต้น ซึ่งมันเป็นเสียงที่เพิ่มอรรทรสให้กับดนตรีแนวนั้นๆนั่นเอง โดยไม่จำกัดแนว
แทบจะปฏิเสธไม่ได้เลยสำหรับคนที่ชอบเล่นกีตาร์ไฟฟ้า ว่าจะต้องมีเจ้าเอฟเฟคไว้ใช้ เพราะมันสามารถทำให้เราปรับแต่งเสียงกีตาร์ของเราได้อย่างอิสระ เช่นต้องการเสียงที่แตกมาก ๆ ต้องการเสียงลากยาว ๆ เป็นต้น
เอฟเฟค มาในหลากหลายรูปแบบ ที่แพร่หลายมากที่สุดคือแบบ “ชุดเหยียบ stompbox” หรือที่เราเห็นกันอยู่ทั่ว ๆ ไป ที่นักดนตรีเขาใช้เท้าเหยียบ ๆ นั่นแหละครับ(บางคนเรียกว่าเอฟเฟคแบบก้อน)ซึ่งยังแบ่งได้อีก 2 ประเภทคือตัวเดียวก็เป็นเอฟเฟคอย่างเดียวเลยเช่น distortion ก็จะทำหน้าที่เป็น distortion อย่างเดียวเลย ในขณะที่อีกประเภทจะเป็นเอฟเฟครวม มีเอฟเฟคหลาย ๆ ประเภทอยู่ในตัวเดียวกัน ซึ่งแล้วแต่ใครจะชอบแบบไหน แต่นักดนตรีหลายคนยังชอบแบบก้อนมากกว่า เพราะมีความคลาสสิกกว่าและเสียงที่ได้มามันสะใจกว่า (เขาว่ากันว่า)
และแบบ “ใส่แร็ค rackmount” หรือ เอฟเฟ็คแบบ บิลท์อิน Built-in คือติดตั้งอยู่ในตู้แอมป์หรือ มิกเซอร์ เพื่อความสะดวกและประหยัด ในปัจจุบันการแบ่งประเภทของเอ็ฟเฟ็ค และการเรียกชื่อชนิด อาจมีความเห็นไม่สอดคล้องกันในแต่ละค่ายของผู้ผลิตคิดค้นอุปกรณ์เหล่านี้
1.) Dynamics ไดนามิค
คือการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางความดังของคลื่นเสียง เช่น
Clean boost/Volume pedal ใช้ช่วยเร่งความดังขณะโชว์หรือ โซโล่ Solo
2.) Microphone preamplifier หรือ “ปรีไมค์ mic preamp ” ใช้เร่งสัญญาณไมค์ที่ใช้จ่อเครื่องเล่นให้แรงขึ้น
3.) Compressor บีบสัญญาณเพื่อรักษาความดังให้ไกล้เคียงกันตลอดการเล่น
4.) Tremolo ซอยเสียง slight ให้เสียงเหมือนมีการสั่นโดยปรับความเร็วการซอยได้
5.) Time-based ไทม์เบส ฐานเวลา
สร้างผลกระทบจากการเปลี่ยนค่าเวลาของคลื่นเสียงด้วย
6.) Delay/Echo ส่วน ของ ดีเลย์ และ แอ็คโค่ จะผลิตเสียงสะท้อน echo effect ด้วยการป้อนสัญญาณเครื่องเล่นเดิมซ้ำ ไปที่แอมป์ โดยสัญญาณไฟฟ้า electrical signal จะหน่วงเวลาจากต้นฉบับเล็กน้อย ผลที่เกิดขึ้นอาจเป็นแบบ แอ็คโค่เดียวหรือเรียกว่า “สแล็ป slap” หรือ “สแล็ปแบ็ค slapback” ซึ่งคือแอ็คโค่หลายทีนั่นเอง การใช้ดีเลย์ ที่รู้จักกันดีคือการใช้กับกีตาร์ตัวนำ lead guitar หรือเสียงร้อง เพื่อความไพเราะ ของหางเสียง
Reverb ส่วนของ รีเวิร์บหรือการสร้างเสียงก้อง เป็นการจำลองเสียงให้เหมือนการผลิตใน ห้องสะท้อน echo chamber ด้วยการสร้างเสียงสะท้อนมากมายที่ค่อยๆ ลดความดังลงเรื่อยๆ หรือสร้างความก้องกังวานใน “หางเสียง decay”ให้ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเสริมไม่ให้เสียงห้วนฟังดูแห้งจนเกินไป โดยเป็นเทคนิคในการทำให้เสียงหวาน หรือ ฉ่ำขึ้นนั่นเอง
Tone โทน น้ำเสียง
การเปลี่ยนให้น้ำเสียงเพี้ยนไปจากธรรมชาติเดิม เช่น
Distortion and Overdrive เป็นการ บิดเบือนน้ำเสียงของเครื่องด้วยการเพิ่ม ” น้ำเสียงเกินจริง overtones” เพื่อสร้างสรรค์ เสียงที่ “อบอุ่น warm” สร้างเสียง ” สกปรก dirty” หรือ ” เถื่อน gritty” ซึ่งอาศัยหลักของการเร่งกำลังขับของเครื่องเล่นจนถูก “ตัดยอด clipping ” คลื่นเสียง เสมือนกับการที่ แอมป์หลอด tube amplifiers, บีบสัญญาณไฟฟ้าของเครื่องเล่นที่ออกมาแรงเกินจนเกิดเสียง distortion ด้วยคุณสมบัติของ “หลอดสูญญากาศ vacuum tubes or valves”
Fuzz ที่ เหยียบฟัซซ์ หรือ“กล่องฟัซซ์ fuzzbox” คือชนิดของโอเวอร์ไดรฟ์ overdrive .ที่มีแป้นเหยียบเร่งเสียงจนกระทั่งใกล้เป็นคลื่นสี่เหลี่ยม squarewave จนเกิดผลให้เสียงบิดเบือนอย่างหนักกลายเป็นเสียงแบบ “ฟัซซี่ fuzzy” ซึ่งเป็นที่นิยมในแนวดนตรีแบบ เฮวี่-เมทอล
Noise gate ประตูเสียงกั้นรบกวน หรือ น็อยซ์เกท ทำการลดเสียง“ ฮัม hum”, “ จี่ hiss ” และ “ค้าง static” โดยกำจัดเสียงที่ต่ำกว่า เพดาน ค่าเกน gain threshold ที่กำหนด จึงใช้เพื่อป้องกันเสียงจากเครื่องอื่นที่เข้ามารบกวนสัญญาณ และถ้านำมันมาติดตั้งในตอนท้ายจากรีเวิร์บ reverb จะทำให้เกิดเสียงพิสดารได้เช่น เกทกลอง gated drum effect
Lo-fi โล-ไฟ หรือการทำตรงข้ามกับ ไฮ-ไฟ เป็นการจำลองเสียงรบกวน หรือแกล้งลดคุณภาพน้ำเสียง เพื่อให้เหมือนกับอุปกรณ์อีเล็กทรอนิกแบบอนาล็อกย้อนยุค vintage analog electronic นิยมใช้ในดนตรี ฮิป-ฮอป หรือการทำเสียงล้อเลียน เช่น เสียงโทรศัพท์ เสียงเทปเก่า
Filter ฟิลเตอร์ การกรองความถี่เสียง
Equalizer อีควอไลเซอร์ หรือ ตัวปรับความเท่าเทียม คือชุดของการกรองความถี่ ที่จะทำการ “เพิ่มกำลัง boost” หรือ “ตัดกำลัง cut” ช่วงความถี่ที่เจาะจง เครื่องเล่น สเตอริโอ Stereos มักจะมี อีควอไลเซอร์ เพื่อปรับเสียง ทุ้ม bass และ แหลม treble ช่างเสียง Audio engineers จะอาศัยความชำนาญในการใช้ อีควอไลเซอร์ เพื่อกำจัดเสียงที่ไม่ต้องการ โดยทำให้เครื่องเล่น และเสียงร้องโดดเด่นขึ้น และยกระดับน้ำเสียงของเครื่องเล่นที่ต้องการนำเสนอ
Talk box ทอล์คบ็อกซ์ หรือ เสียงหุ่นยนต์ จะนำเสียงที่สร้างจากการสังเครากีตาร์ guitar หรือเครื่องสังเคราะห์ ส่งไปยังที่ปากของผู้แสดง เพื่อให้เขาสร้างรูปร่าง shape ของเสียงไปสู่ เสียงสระ vowels และ เสียงพยัญชนะ consonants เสียงที่ถูกดัดแปลงจะถูกรับจากไมโครโฟน ด้วยวิธีนี้กีตาร์จึงฟังเหมือนพูดได้ หรืออาจไปใช้ทำเสียงตัวประหลาดอื่นๆได้เช่นกัน
Wah-wah แป้นวาว-วาว จะสร้างเสียงวอ vowel เหมือนเสียงที่ถูกกลับแถบความถี่ frequency spectrum ซึ่งผลิตออกจากเครื่องเล่น ตัวอย่างเช่นการดังของมันที่แต่ละจุดแยกความถี่ separate frequency หรือเรียกกันว่า เส้นแถบ spectral glide. อุปกรณ์นี้ทำงานด้วยการควบคุมจากเท้าในการโยกเพื่อ เปิดปิด ตัวต้านทานปรับค่าได้ potentiometer ซึ่งนิยมใช้ในแนวดนตรีประเภท ฟังค์ funk และร็อคบางชนิด
De-esser ดี-เอสเซอร์ จะกรองความถี่สูงซึ่งเกิดจากการออกเสียงพยัญชนะ ฉ ซ ช sibilant consonants “s”, “z”, “sh” ในการอัดเสียงคน เพื่อไม่ให้เกิดเสียง “ซึ่บ” มากเกินไป
Pitch/Frequency การแต่งความถี่ที่กำหนด
Chorus คอรัส เป็นการ ล้อเลียน “การกักรูปคลื่น phase locking” ซึ่งเป็นผลของเสียงที่จากการร้องประสานเสียง choirs และ วงดนตรีเครื่องสาย string orchestras ตามธรรมชาติ เมื่อเสียงที่มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยใน ทิมบรี timbre และ พิทช์ pitch มารวมตัวเข้าด้วยกัน คอรัสเอ็ฟเฟค จะแบ่งสัญญาณไฟฟ้าที่ส่งจากเครื่องเล่นไป แอมป์ โดยเพิ่มความถี่เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
slight frequency variations หรือ “ไวบราโต้ vibrato” ในส่วนของสัญญาณนั้น โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงส่วนที่เหลือ ในการปรับตั้งใช้งาน คอรัสเอ็ฟเฟค สามารถผลิตเสียง ”เวิ้งว้าง spacey” จึงเหมาะกับการใช้เพิ่มมิติบางอย่างให้กับเสียง
นอกจากนั้นยังมี เอฟเฟคในกลุ่มนี้ที่นิยมใช้กันอีกอีกเช่น Flanger, Phase shifter Pitch shifter and Harmonizer, Ring modulator, Vibrato และ Harmonic Exciter
Feedback/Sustain การป้อนสัญญาณกลับ และ การยืดหางเสียง
Audio feedback การป้อนสัญญาณเสียงกลับ จะเกิดผลเหมือนเราเอาไมโครโฟนไปรับเสียงของมันเองที่เกิดจากการขยายผ่าน แอมป์ ทำให้เกิดสัญญาณขยายวนหรือ “ฟีดแบ็คลูป feedback loop” ซึ่งเป็นเทคนิคที่เริ่มต้นมาจากการเล่นกีตาร์ไฟฟ้า ที่หันกีตาร์เข้าหาตู้แอมป์ให้เกิดเสียงหอนเพื่อลากหางเสียงให้ยาวซึ่ง ควบคุมการหอนและน้ำเสียงได้ค่อนข้างลำบาก จึงมีการคิดอุปกรณ์เพื่อช่วยให้เกิดเสียงดังกล่าวเช่น Guitar Resonator,Sustainiac Sustainer และ Fernandes Sustainer เพื่อหาทางลากหางเสียงให้ยาวออกไป เหมือนสายกีตาร์ที่สั่นไม่ยอมหยุด
แป้นเหยียบคอมเพรสเซอร์ compressor pedals หลายรุ่นจึงทำมักตลาดด้วยการเป็น “ซัซเทนเนอร์ เพ็ดดัล sustainer pedals” ด้วยการกดความดังช่วงหัวสัญญาณเพื่อให้หางเสียงฟังเหมือนยาวขึ้นเพราะเสียงเบาช้าลง แล้วจึงค่อยขยายซ้ำอีกทีเพื่อเพิ่มความดังทั้งหมด
เอฟเฟคได้มีการพัฒนาเทคนิคการดัดแปลงเสียงและเพิ่มลุกเล่นต่างๆเข้าไป เรื่อย เรื่อย และในยุคของดิจิตอล มันสามารถโปรแกรมค่าต่างๆล่วงหน้า หรือทำงานโดยอัตโนมัติ แต่ก็ยังต้องยึดหลักการทำงานตามลักษณะของคลื่นเสียงอยู่ดี
ดังนั้นผู้ที่จะนำเอฟเฟคซึ่งเป็นเครื่องมือในการปรับแต่งสร้างสรรค์ งานด้านเสียงต่างๆ ควรจะศึกษาเรื่อง คุณลักษณะ ของคลื่นเสียง และ ธรรมชาติของเสียงและผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมให้เข้าใจ จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้เครื่องมือหรือเครื่องช่วยต่างๆเหล่านี้ ครับ
อ้างอิง...http://numneungguitar.wordpress.com/2011/08/26/stompbox-effect-pedal/
โดยเอฟเฟคมักจะถูกใช้กับ กีต้าร์ไฟฟ้า electric guitar, คีย์บอร์ด keyboard, หรือ เบสส์ bass หรือการบันทึกเสียงในสตูดิโอ studio
แม้ว่าส่วนใหญ่เรามักจะใช้เอฟเฟคกับเครื่องดนตรีไฟฟ้า หรืออีเลกทรอนิก แต่ความจริงแล้วเอฟเฟคก็ยังสามารถใช้กับเครื่องดนตรี อะคุสติก acoustic instruments และ กลองชุดได้ ตัวอย่างเอฟเฟคที่นิยมใช้กันคือ แป้นวาว wah-wah pedals กล่องเสียงแตก fuzzboxes และกลุ่มรีเวิร์บ reverb units
เวลาท่อนโซโล ก็จะได้ยินหางเสียงกีต้าร์ สะท้อนๆ ยาวๆ นั่นคือเสียง delay,reverb เป็นต้น ซึ่งมันเป็นเสียงที่เพิ่มอรรทรสให้กับดนตรีแนวนั้นๆนั่นเอง โดยไม่จำกัดแนว
แทบจะปฏิเสธไม่ได้เลยสำหรับคนที่ชอบเล่นกีตาร์ไฟฟ้า ว่าจะต้องมีเจ้าเอฟเฟคไว้ใช้ เพราะมันสามารถทำให้เราปรับแต่งเสียงกีตาร์ของเราได้อย่างอิสระ เช่นต้องการเสียงที่แตกมาก ๆ ต้องการเสียงลากยาว ๆ เป็นต้น
เอฟเฟค มาในหลากหลายรูปแบบ ที่แพร่หลายมากที่สุดคือแบบ “ชุดเหยียบ stompbox” หรือที่เราเห็นกันอยู่ทั่ว ๆ ไป ที่นักดนตรีเขาใช้เท้าเหยียบ ๆ นั่นแหละครับ(บางคนเรียกว่าเอฟเฟคแบบก้อน)ซึ่งยังแบ่งได้อีก 2 ประเภทคือตัวเดียวก็เป็นเอฟเฟคอย่างเดียวเลยเช่น distortion ก็จะทำหน้าที่เป็น distortion อย่างเดียวเลย ในขณะที่อีกประเภทจะเป็นเอฟเฟครวม มีเอฟเฟคหลาย ๆ ประเภทอยู่ในตัวเดียวกัน ซึ่งแล้วแต่ใครจะชอบแบบไหน แต่นักดนตรีหลายคนยังชอบแบบก้อนมากกว่า เพราะมีความคลาสสิกกว่าและเสียงที่ได้มามันสะใจกว่า (เขาว่ากันว่า)
และแบบ “ใส่แร็ค rackmount” หรือ เอฟเฟ็คแบบ บิลท์อิน Built-in คือติดตั้งอยู่ในตู้แอมป์หรือ มิกเซอร์ เพื่อความสะดวกและประหยัด ในปัจจุบันการแบ่งประเภทของเอ็ฟเฟ็ค และการเรียกชื่อชนิด อาจมีความเห็นไม่สอดคล้องกันในแต่ละค่ายของผู้ผลิตคิดค้นอุปกรณ์เหล่านี้
เราจึงจะแบ่งชนิดหลักเป็นพื้นฐาน 6 แบบ
1.) Dynamics ไดนามิค
คือการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางความดังของคลื่นเสียง เช่น
Clean boost/Volume pedal ใช้ช่วยเร่งความดังขณะโชว์หรือ โซโล่ Solo
2.) Microphone preamplifier หรือ “ปรีไมค์ mic preamp ” ใช้เร่งสัญญาณไมค์ที่ใช้จ่อเครื่องเล่นให้แรงขึ้น
3.) Compressor บีบสัญญาณเพื่อรักษาความดังให้ไกล้เคียงกันตลอดการเล่น
4.) Tremolo ซอยเสียง slight ให้เสียงเหมือนมีการสั่นโดยปรับความเร็วการซอยได้
5.) Time-based ไทม์เบส ฐานเวลา
สร้างผลกระทบจากการเปลี่ยนค่าเวลาของคลื่นเสียงด้วย
6.) Delay/Echo ส่วน ของ ดีเลย์ และ แอ็คโค่ จะผลิตเสียงสะท้อน echo effect ด้วยการป้อนสัญญาณเครื่องเล่นเดิมซ้ำ ไปที่แอมป์ โดยสัญญาณไฟฟ้า electrical signal จะหน่วงเวลาจากต้นฉบับเล็กน้อย ผลที่เกิดขึ้นอาจเป็นแบบ แอ็คโค่เดียวหรือเรียกว่า “สแล็ป slap” หรือ “สแล็ปแบ็ค slapback” ซึ่งคือแอ็คโค่หลายทีนั่นเอง การใช้ดีเลย์ ที่รู้จักกันดีคือการใช้กับกีตาร์ตัวนำ lead guitar หรือเสียงร้อง เพื่อความไพเราะ ของหางเสียง
เสียงของ เอฟเฟค
Reverb ส่วนของ รีเวิร์บหรือการสร้างเสียงก้อง เป็นการจำลองเสียงให้เหมือนการผลิตใน ห้องสะท้อน echo chamber ด้วยการสร้างเสียงสะท้อนมากมายที่ค่อยๆ ลดความดังลงเรื่อยๆ หรือสร้างความก้องกังวานใน “หางเสียง decay”ให้ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเสริมไม่ให้เสียงห้วนฟังดูแห้งจนเกินไป โดยเป็นเทคนิคในการทำให้เสียงหวาน หรือ ฉ่ำขึ้นนั่นเอง
Tone โทน น้ำเสียง
การเปลี่ยนให้น้ำเสียงเพี้ยนไปจากธรรมชาติเดิม เช่น
Distortion and Overdrive เป็นการ บิดเบือนน้ำเสียงของเครื่องด้วยการเพิ่ม ” น้ำเสียงเกินจริง overtones” เพื่อสร้างสรรค์ เสียงที่ “อบอุ่น warm” สร้างเสียง ” สกปรก dirty” หรือ ” เถื่อน gritty” ซึ่งอาศัยหลักของการเร่งกำลังขับของเครื่องเล่นจนถูก “ตัดยอด clipping ” คลื่นเสียง เสมือนกับการที่ แอมป์หลอด tube amplifiers, บีบสัญญาณไฟฟ้าของเครื่องเล่นที่ออกมาแรงเกินจนเกิดเสียง distortion ด้วยคุณสมบัติของ “หลอดสูญญากาศ vacuum tubes or valves”
Fuzz ที่ เหยียบฟัซซ์ หรือ“กล่องฟัซซ์ fuzzbox” คือชนิดของโอเวอร์ไดรฟ์ overdrive .ที่มีแป้นเหยียบเร่งเสียงจนกระทั่งใกล้เป็นคลื่นสี่เหลี่ยม squarewave จนเกิดผลให้เสียงบิดเบือนอย่างหนักกลายเป็นเสียงแบบ “ฟัซซี่ fuzzy” ซึ่งเป็นที่นิยมในแนวดนตรีแบบ เฮวี่-เมทอล
Noise gate ประตูเสียงกั้นรบกวน หรือ น็อยซ์เกท ทำการลดเสียง“ ฮัม hum”, “ จี่ hiss ” และ “ค้าง static” โดยกำจัดเสียงที่ต่ำกว่า เพดาน ค่าเกน gain threshold ที่กำหนด จึงใช้เพื่อป้องกันเสียงจากเครื่องอื่นที่เข้ามารบกวนสัญญาณ และถ้านำมันมาติดตั้งในตอนท้ายจากรีเวิร์บ reverb จะทำให้เกิดเสียงพิสดารได้เช่น เกทกลอง gated drum effect
Lo-fi โล-ไฟ หรือการทำตรงข้ามกับ ไฮ-ไฟ เป็นการจำลองเสียงรบกวน หรือแกล้งลดคุณภาพน้ำเสียง เพื่อให้เหมือนกับอุปกรณ์อีเล็กทรอนิกแบบอนาล็อกย้อนยุค vintage analog electronic นิยมใช้ในดนตรี ฮิป-ฮอป หรือการทำเสียงล้อเลียน เช่น เสียงโทรศัพท์ เสียงเทปเก่า
Filter ฟิลเตอร์ การกรองความถี่เสียง
Equalizer อีควอไลเซอร์ หรือ ตัวปรับความเท่าเทียม คือชุดของการกรองความถี่ ที่จะทำการ “เพิ่มกำลัง boost” หรือ “ตัดกำลัง cut” ช่วงความถี่ที่เจาะจง เครื่องเล่น สเตอริโอ Stereos มักจะมี อีควอไลเซอร์ เพื่อปรับเสียง ทุ้ม bass และ แหลม treble ช่างเสียง Audio engineers จะอาศัยความชำนาญในการใช้ อีควอไลเซอร์ เพื่อกำจัดเสียงที่ไม่ต้องการ โดยทำให้เครื่องเล่น และเสียงร้องโดดเด่นขึ้น และยกระดับน้ำเสียงของเครื่องเล่นที่ต้องการนำเสนอ
Talk box ทอล์คบ็อกซ์ หรือ เสียงหุ่นยนต์ จะนำเสียงที่สร้างจากการสังเครากีตาร์ guitar หรือเครื่องสังเคราะห์ ส่งไปยังที่ปากของผู้แสดง เพื่อให้เขาสร้างรูปร่าง shape ของเสียงไปสู่ เสียงสระ vowels และ เสียงพยัญชนะ consonants เสียงที่ถูกดัดแปลงจะถูกรับจากไมโครโฟน ด้วยวิธีนี้กีตาร์จึงฟังเหมือนพูดได้ หรืออาจไปใช้ทำเสียงตัวประหลาดอื่นๆได้เช่นกัน
Wah-wah แป้นวาว-วาว จะสร้างเสียงวอ vowel เหมือนเสียงที่ถูกกลับแถบความถี่ frequency spectrum ซึ่งผลิตออกจากเครื่องเล่น ตัวอย่างเช่นการดังของมันที่แต่ละจุดแยกความถี่ separate frequency หรือเรียกกันว่า เส้นแถบ spectral glide. อุปกรณ์นี้ทำงานด้วยการควบคุมจากเท้าในการโยกเพื่อ เปิดปิด ตัวต้านทานปรับค่าได้ potentiometer ซึ่งนิยมใช้ในแนวดนตรีประเภท ฟังค์ funk และร็อคบางชนิด
De-esser ดี-เอสเซอร์ จะกรองความถี่สูงซึ่งเกิดจากการออกเสียงพยัญชนะ ฉ ซ ช sibilant consonants “s”, “z”, “sh” ในการอัดเสียงคน เพื่อไม่ให้เกิดเสียง “ซึ่บ” มากเกินไป
Pitch/Frequency การแต่งความถี่ที่กำหนด
Chorus คอรัส เป็นการ ล้อเลียน “การกักรูปคลื่น phase locking” ซึ่งเป็นผลของเสียงที่จากการร้องประสานเสียง choirs และ วงดนตรีเครื่องสาย string orchestras ตามธรรมชาติ เมื่อเสียงที่มีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยใน ทิมบรี timbre และ พิทช์ pitch มารวมตัวเข้าด้วยกัน คอรัสเอ็ฟเฟค จะแบ่งสัญญาณไฟฟ้าที่ส่งจากเครื่องเล่นไป แอมป์ โดยเพิ่มความถี่เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
slight frequency variations หรือ “ไวบราโต้ vibrato” ในส่วนของสัญญาณนั้น โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงส่วนที่เหลือ ในการปรับตั้งใช้งาน คอรัสเอ็ฟเฟค สามารถผลิตเสียง ”เวิ้งว้าง spacey” จึงเหมาะกับการใช้เพิ่มมิติบางอย่างให้กับเสียง
นอกจากนั้นยังมี เอฟเฟคในกลุ่มนี้ที่นิยมใช้กันอีกอีกเช่น Flanger, Phase shifter Pitch shifter and Harmonizer, Ring modulator, Vibrato และ Harmonic Exciter
Feedback/Sustain การป้อนสัญญาณกลับ และ การยืดหางเสียง
Audio feedback การป้อนสัญญาณเสียงกลับ จะเกิดผลเหมือนเราเอาไมโครโฟนไปรับเสียงของมันเองที่เกิดจากการขยายผ่าน แอมป์ ทำให้เกิดสัญญาณขยายวนหรือ “ฟีดแบ็คลูป feedback loop” ซึ่งเป็นเทคนิคที่เริ่มต้นมาจากการเล่นกีตาร์ไฟฟ้า ที่หันกีตาร์เข้าหาตู้แอมป์ให้เกิดเสียงหอนเพื่อลากหางเสียงให้ยาวซึ่ง ควบคุมการหอนและน้ำเสียงได้ค่อนข้างลำบาก จึงมีการคิดอุปกรณ์เพื่อช่วยให้เกิดเสียงดังกล่าวเช่น Guitar Resonator,Sustainiac Sustainer และ Fernandes Sustainer เพื่อหาทางลากหางเสียงให้ยาวออกไป เหมือนสายกีตาร์ที่สั่นไม่ยอมหยุด
แป้นเหยียบคอมเพรสเซอร์ compressor pedals หลายรุ่นจึงทำมักตลาดด้วยการเป็น “ซัซเทนเนอร์ เพ็ดดัล sustainer pedals” ด้วยการกดความดังช่วงหัวสัญญาณเพื่อให้หางเสียงฟังเหมือนยาวขึ้นเพราะเสียงเบาช้าลง แล้วจึงค่อยขยายซ้ำอีกทีเพื่อเพิ่มความดังทั้งหมด
เอฟเฟคได้มีการพัฒนาเทคนิคการดัดแปลงเสียงและเพิ่มลุกเล่นต่างๆเข้าไป เรื่อย เรื่อย และในยุคของดิจิตอล มันสามารถโปรแกรมค่าต่างๆล่วงหน้า หรือทำงานโดยอัตโนมัติ แต่ก็ยังต้องยึดหลักการทำงานตามลักษณะของคลื่นเสียงอยู่ดี
ดังนั้นผู้ที่จะนำเอฟเฟคซึ่งเป็นเครื่องมือในการปรับแต่งสร้างสรรค์ งานด้านเสียงต่างๆ ควรจะศึกษาเรื่อง คุณลักษณะ ของคลื่นเสียง และ ธรรมชาติของเสียงและผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมให้เข้าใจ จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้เครื่องมือหรือเครื่องช่วยต่างๆเหล่านี้ ครับ
อ้างอิง...http://numneungguitar.wordpress.com/2011/08/26/stompbox-effect-pedal/
Comments
Post a Comment