Skip to main content

6 คำถามที่ต้องถามตัวเองก่อนที่เราจะเริ่มทำธุรกิจ


ที่มา AllBusiness.com

ก่อนที่เราจะเริ่มลงมือทำธุรกิจใดๆ นั้น เราจำเป็นที่จะต้องคิดให้ถี่ถ้วนก่อนว่า ธุรกิจนั้นๆคุ้มค่า คุ้มเวลาที่ลงไปหรือไม่ ในบทความนี้เราเรามีคำถามที่แนะนำให้ถามตัวเองก่อนที่จะตัดสินใจลงมือทำธุรกิจใดๆ

          1.)     อะไรคือปัญหาที่เราพยายามจะแก้ไข
นี้เป็นคำถามที่เราควรจะต้องถามตัวเองเป็นอย่างแรกเลยในการจะลงมือทำธุรกิจใดๆ  ถ้าหากเราไม่มีโฟกัสในปัญหาที่เราพยายามจะแก้ไข ธุรกิจของเราก็อาจจะไปไม่รอดเหมือนกัน
         
         2.)     เรามีเวลามากพอหรือไม่
แน่นอนว่าส่วนมากแล้วคนเรามักจะมีสิ่งที่อยากทำ มากกว่าเวลาที่มีให้ทำ ถ้าหากคุณไม่สามารถหาเวลาให้มากพอกับที่ธุรกิจของคุณต้องการ ธุรกิจของคุณก็อาจจะไปไม่รอดเหมือนกัน
    
          3.)     ทำไมเราถึงต้องทำสิ่งนี้
ทำไมเราถึงต้องทำสิ่งนี้ (ไม่ใช่แค่เพื่อหาเงิน) ทำไมสิ่งที่เราทำมันถึงได้สำคัญ ทำไมธุรกิจของเราจึงมีความจำเป็น หากเราไม่สามารถตอบสิ่งเหล่านี้ได้ ธุรกิจของคุณก็อาจจะไปไม่รอดได้เหมือนกัน

          4.)     ในอีก 5 ปีข้างหน้า เราจะยังสนใจทำสิ่งนี้อยู่อีกหรือไม่
ลองถามตัวเองให้ดีๆ ว่าสิ่งที่เรากำลังจะทำอยู่นี้มันจะยังน่าสนใจอยู่อีกหรือไม่ หากเราจะต้องยอมเสียเวลาลงแรงไปเป็นเวลา 5 ปี เพราะก็หมดไฟกลางทางก็เป็นสาเหตุที่ทำให้ธุรกิจของคุณอาจจะไปไม่รอดได้เหมือนกัน

          5.)     อะไรที่ทำให้ธุรกิจของเรา แตกต่างจากของคนอื่น
ผู้คนต่างต้องการสิ่งใหม่ๆ อยู่เสมอ แต่ก็ชอบอยู่ในสภาพแวดล้อมที่คุ้นเคย ดังนั้นเราจะต้องสามารถสร้างจุดแตกต่างของธุรกิจของเราให้ได้ ไม่เช่นนั้นธุรกิจของคุณก็อาจจะไปไม่รอดได้เหมือนกัน

          6.)    เราจะสามารถอยู่รอดได้หรือไม่ หากไม่มีรายได้เป็นเวลา 1 ปี

ในการทำธุรกิจนั้น มีโอกาสอย่างมากที่เราจะไม่สามารถทำกำไรอะไรได้เลย เป็นเวลา 1 ปี เราสามารถที่รับสภาพนี้ได้หรือไม่ ถ้าไม่ได้ คำแนะนำคือ อย่าเพิ่งลงมือทำธุรกิจนั้นอาจจะเป็นทางเลือกที่ดีก็ได้

Comments

Popular posts from this blog

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด หลักการ 5P เป็นหลักการทางด้านการตลาด (จริงๆแล้วมันก็เป็นการขยาย 4P ที่ทุกคนรู้จักกันดีแล้วนั้นเอง) แต่มีการนำมาขยายความในส่วนต่างๆ ให้มากยิ่งขึ้น 1.)  Product / Service (ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ)  :  สินค้าหรือบริการของคุณคืออะไร มุ่งตอบสนองความต้องการหรือช่วยแก้ปัญหาอะไร ทำไมผู้บริโภคถึงต้องการสินค้าของคุณ 2.)  Person (ใคร)  กลุ่มลูกค้าของคุณคือใคร มีลักษณะเฉพาะอย่างไร โดยควรระบุรายละเอียดให้ได้มากที่สุด เช่น อายุ เพศ กำลังซื้อ เพื่อให้สามารถระบุเป้าหมายให้ได้ชัดเจนที่สุด 3.)  Price (ราคา)  มีการกำหนดราคาของสินค้าและบริการไว้อย่างไร มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่ 1 และ 2 หรือไม่อย่างไร และคุณวางตำแหน่งสินค้าของคุณไว้ ณ ตำแหน่งไหนของตลาด เป็นของ แบบกลางๆจะได้รับความสนใจหรือไม่ หรือควรเป็นสิ่งที่มีตำแหน่งทางการตลาดที่ชัดเจนเช่น ดีที่สุด ใหญ่ที่สุด เล็กที่สุด เร็วที่สุด เป็นต้น 4.)  Place (สถานที่)  กลุ่มลูกค้าของคุณจะสามารถเข้าถึง สินค้าและบริการของคุณได้อย่างไร ทางไหน มีความเหมาะสมกับหัวข้อที่ 2 และ 3 หรือไม่อย่างไร 5.)  Promotion (ส่งเสริมกา

ส่วนประกอบของ android แอพพลิเคชัน (Android Application Component)

    ส่วนประกอบของ แอพพลิเคชัน (Application Component) สามารถแบ่งออกได้เป็น ๔ ประเภทดังนี้ ๑. Activity (User Interface)  คือ สิ่งท่ีใช้ในการแสดงผลออกมาเพื่อให้ผู้ใช้งานได้เห็น และได้ใช้งานโดย แต่ละแอปพลิเคชนััน อาจจะมีActivity เดียว หรือหลายๆ Activity และส่ิงที่อยู่ใน Activity นั้นจะเรียกว่า View ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น button, text field, scroll bars, menu items, check boxes และอื่นๆ ๒. Service (Service Provider)  เป็นส่วนที่ไม่มีการแสดงผลแต ถูกเรียกใช้ให้ รันอยู่ในลักษณะของ background process โดย service นั้นอาจจะมีการกระทำ อะไรบางอย่าง เช่น ติดต่อรับส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย หรือคำนวณค่าต่างๆ แล้วทำการส่งข้อมูลไปแสดงยัง Activity ก็ได้ หรือการเปิดเพลงในขณะที่เรากำลังทำงานบน แอพพลิเคชั่นอื่น ๓. Broadcast receiver (DataProvider)  คือ ตัวที่ใช้สำหรับคอยรับและตอบสนองต่อ เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึน เช่น เมื่อแบตเตอรี่ต่ำ ,การเปล่ียนภาษา, มีการโทรออก, มีข้อความเข้าและอื่นๆ ถึงแม้ broadcast receiver จะไม่มีส่วนของการแสดงผลแต่ก็สามารถที่จะเรียก Activity ข้ึนมาแสดงผลให้ผู้ใช้ทราบได้

วิธีการเปลี่ยนบัญชี gmail การลบบัญชี gmail สำหรับ android

การเปลี่ยน gmail สำหรับมือถือ android เป็นปัญหาชวนปวดหัวของเราหลายๆคน ที่เพิ่งจะเปลี่ยนมือถือ หรือไม่ต้องการใช้ gmail หลักของเราไปผูกกับมือถือ android ซึ่งมีความจำเป็นต้องมี gmail ไปผูกไว้ในเครื่องเสมอ    วันนี้ผมจะขอนำเสนอวิธีการในการแก้ gmail ที่ผูกไว้กับเครื่องออกมา โดยสามารถทำได้หลายวิธีตามแต่ความประสงค์ของผู้นำไปใช้ครับ (วิธีการ และผลกระทบย่อมต่างกันออกไปตามแต่ละวิธีครับ) 1.)  เป็นวิธีที่เป็นทางการที่สุดในการแก้ gmail ที่ผูกไว้คือ การทำ Factory Reset  ผลที่จะได้รับคือ เครื่องจะแก้ค่าต่างๆ กลับไปเป็นจุดเริ่มต้นของชีวิตของมันคือ ตอนที่มันออกมาจากโรงงาน gmail, app ต่างๆจะถูกลบไปหมด แน่นอน ข้อมูล รูปภาพใดๆ ที่มีในเครื่องก็จะหายไปหมดด้วย วิธีการ  :  ให้ไปที่   Menu  -->  Setting  -->  Privacy  -->  Factory data reset  รอสักครู่ทุกอย่างก็จะเรียบร้อย คำแนะนำ  :  ต้องทำการสำรองข้อมูล (backup data) ที่จำเป็นทั้งหมดไว้ก่อน เพราะจะถูกลบและเรียกคืนไม่ได้ 2.)  เป็นวิธีการที่ได้ผลกับแค่บางรุ่นเท่านั้น (โดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด) โดยใช้การสร้าง gmail ใหม่เข้าไปในเครื่องแล้วลบ gma