Skip to main content

ว่าด้วยความสุก ของสเต็ก

 มาลองคุยกันหน่อย

ว่าด้วยเรื่องของสเต็ก
หลายๆคนที่ทานสเต็กเป็นประจำอยู่แล้วก็จะทราบดีว่า สเต็กนั้นมีการแบ่งประเภทตามความสุก (ไม่ใช่ความสุขนะ) ได้หลากหลาย
และแต่ล่ะคนก็มีความชอบค่อนข้างจะเฉพาะตัว บางคนกินสุกมากๆ บางคนกินแบบวิ่งผ่านไฟ (คือ แลดูจะดิบๆเลย)

วันนี้เรามารู้จักลักษณะความสุกของสเต็กกันดีกว่า ลืมบอกไปว่าอันนี้เขาใช้กับ สเต็กที่เป็นเนื้อเท่านั้นนะครับ ถ้าเป็นเนื้อหมูมีแต่ต้องทำให้สุกทั้งหมดเท่านั้น




เริ่มจากที่สุกที่สุด ไล่ไปหาที่แค่วิ่งผ่านความร้อนพอเป็นพิธีก็แล้วกันนะครับ

Well Done
แปลตรงๆว่า เรียบร้อยดีมาก หมายความว่าสุกทั่วทั้งชิ้นเลย ปิ้งจนแห้ง แบบนี้เหมาะกับคนที่ชอบกันอะไรที่สุกทั้งชิ้นเลย ไม่อยากให้มีเลือดซึมออกมาเวลากินเลย
แต่สำหรับผมแล้ว แบบนี้มันจะได้เนื้อที่แห้งเกินไปสักหน่อย แทบไม่กินเลย ยกเว้นว่าเขาไม่มีให้เลือก

Done
แบบนี้ก็ยังเป็นการย่างสเต็กให้สุกทั้งชิ้น แต่เนื้อตรงส่วนตรงกลางจะยังคงมีสีออกชมพูๆ หน่อยๆ มีความนิ่มเล็กน้อย แต่แน่นอนว่า ตอนแล่ออกมาจะไม่มีเลือดซึมออกมาด้วย

Medium
เป็นการย่างสเต็กให้สุกเกือบทั้งชิ้นอยู่ โดยรอบนอกจะสุกทั้งหมด แต่ตรงส่วนตรงกลางๆ จะยังคงความชุ่มช่ำของเนื้ออยู่ คือเวลาแลออกมา จะมีเลือด (หรือน้ำในชิ้นเนื้อ) ที่มีความช่ำไหลออกมาบ้างเล็กน้อย
สำหรับผมแล้ว ผมชอบความสุกระดับนี้ที่สุด เพราะเนื้อยังคงความนุ่มและช่ำ แต่ก็มีความสุกระดับหนึ่ง (อันนี้แล้วแต่คน)

Medium Rare
อันนี้กลางสุก กลางดิบเลย ลงมีดผ่าไปแล้วจะได้เจอกับน้ำในเนื้อ ไหลออกมาแบบท่วมท้นเลย สำหรับคนรักความนุ่ม ความหวานของเนื้อ แล้วท่านน่าจะชอบนะครับ
สำหรับผมเคยกินอยู่นะครับ บางร้านทำแล้วออกมาดี ไม่ดิบเกิน (ส่วนตัวถ้าดิบไปก็ไม่ไหวเหมือนกันครับ) บางร้านผมกลัวเพราะความดิบมันมาเยอะไป หลังๆเอาแบบ Medium ดีกว่า

Rare
แบบนี้จะเป็นการย่างแบบให้มีความดิบมากกว่า สุกนะครับ เนื้อน่าจะนุ่มสุดๆ หวานเนื้อแน่ๆ แต่ใจก็ต้องได้เหมือนกันนะครับ เพราะน่าจะแอบดิบมาก ดังนั้นถ้าเป็นร้านที่ไม่แน่ใจ แนะนำให้เลี่ยงได้เลี่ยงน่าจะดีกว่า เลือกร้านที่ดูน่าไว้ใจ (เนื้อไม่เก่าเก็บ หรือมีเชื้อ) ดีกว่าครับ
ขออภัยไม่เคยได้กินแบบ Rare ครับ และคงยังจะไม่กินในเร็ววันนี้ด้วย ขอข้ามนะครับ

Blue Rare
สำหรับสายโหด ที่แค่ Rare มันยังโหดไม่พอ ชอบแบบกัดเข้าไปแล้วเลือดพุ่งออกมา ดิบๆเลย โดยย่างเนื้อแบบแค่เป็นพิธีล่ะนะครับ น่าจะแค่ให้มีกลิ่นหอมซะมากกว่า เน้นเรื่องความสุก คือ แค่นาบเตาแปรบเดียว ขึ้นเลย ข้างนั้นเนื้อดิบๆกันไปเลย (มนุษย์หน่อ มนุษย์) ไม่แนะนำเลยครับ ให้พวกเทพๆ ท่านทานกันไปครับ หากยังไม่มีอาคมแกร่งกล้าพอ คิดว่าไม่น่าจะคุ้มครับ

ว่าแล้วก็ไปหาอะไรกินกันดีกว่า

Comments

Popular posts from this blog

ส่วนประกอบของ android แอพพลิเคชัน (Android Application Component)

    ส่วนประกอบของ แอพพลิเคชัน (Application Component) สามารถแบ่งออกได้เป็น ๔ ประเภทดังนี้ ๑. Activity (User Interface)  คือ สิ่งท่ีใช้ในการแสดงผลออกมาเพื่อให้ผู้ใช้งานได้เห็น และได้ใช้งานโดย แต่ละแอปพลิเคชนััน อาจจะมีActivity เดียว หรือหลายๆ Activity และส่ิงที่อยู่ใน Activity นั้นจะเรียกว่า View ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น button, text field, scroll bars, menu items, check boxes และอื่นๆ ๒. Service (Service Provider)  เป็นส่วนที่ไม่มีการแสดงผลแต ถูกเรียกใช้ให้ รันอยู่ในลักษณะของ background process โดย service นั้นอาจจะมีการกระทำ อะไรบางอย่าง เช่น ติดต่อรับส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย หรือคำนวณค่าต่างๆ แล้วทำการส่งข้อมูลไปแสดงยัง Activity ก็ได้ หรือการเปิดเพลงในขณะที่เรากำลังทำงานบน แอพพลิเคชั่นอื่น ๓. Broadcast receiver (DataProvider)  คือ ตัวที่ใช้สำหรับคอยรับและตอบสนองต่อ เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึน เช่น เมื่อแบตเตอรี่ต่ำ ,การเปล่ียนภาษา, มีการโทรออก, มีข้อความเข้าและอื่นๆ ถึงแม้ broadcast receiver จะไม่มีส่วนของการแสดงผลแต่ก็สามารถที่จะเรียก...

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด หลักการ 5P เป็นหลักการทางด้านการตลาด (จริงๆแล้วมันก็เป็นการขยาย 4P ที่ทุกคนรู้จักกันดีแล้วนั้นเอง) แต่มีการนำมาขยายความในส่วนต่างๆ ให้มากยิ่งขึ้น 1.)  Product / Service (ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ)  :  สินค้าหรือบริการของคุณคืออะไร มุ่งตอบสนองความต้องการหรือช่วยแก้ปัญหาอะไร ทำไมผู้บริโภคถึงต้องการสินค้าของคุณ 2.)  Person (ใคร)  กลุ่มลูกค้าของคุณคือใคร มีลักษณะเฉพาะอย่างไร โดยควรระบุรายละเอียดให้ได้มากที่สุด เช่น อายุ เพศ กำลังซื้อ เพื่อให้สามารถระบุเป้าหมายให้ได้ชัดเจนที่สุด 3.)  Price (ราคา)  มีการกำหนดราคาของสินค้าและบริการไว้อย่างไร มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่ 1 และ 2 หรือไม่อย่างไร และคุณวางตำแหน่งสินค้าของคุณไว้ ณ ตำแหน่งไหนของตลาด เป็นของ แบบกลางๆจะได้รับความสนใจหรือไม่ หรือควรเป็นสิ่งที่มีตำแหน่งทางการตลาดที่ชัดเจนเช่น ดีที่สุด ใหญ่ที่สุด เล็กที่สุด เร็วที่สุด เป็นต้น 4.)  Place (สถานที่)  กลุ่มลูกค้าของคุณจะสามารถเข้าถึง สินค้าและบริการของคุณได้อย่างไร ทางไหน มีความเหมาะสมกับหัวข้อที่ 2 และ 3...

แผนภาพวาดให้เป็น เก่งนำเสนอ

ผู้เขียน  :  Yamda Masao แปลโดย ประวัติ เพียรเจริญ ISBN  :  978-974-443-460-9 ปีที่พิมพ์ครั้งแรก  :  2012 จัดพิมพ์โดย  :  สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. จำนวนหน้า  :  272 หน้า ราคา  :  220 บาท สรุปเนื้อหาสำคัญ    หนังสือเล่มนี้ไม่ได้เป็นหนังสือที่สอนวิธีการวาดภาพ แต่เป็นหนังสือที่สอนให้ใช้รูปภาพ (หมายถึง แผนภูมิ, กราฟ และตารางต่างๆ) เพื่อใช้ในการนำเสนอสิ่งต่างๆ ความคิดเห็น ข้อมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งหวังให้คนอ่านสามารถทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้น เพราะความคิดของแต่ล่ะคนไม่เหมือนกัน การนำเสนอความคิดด้วยภาพจึงมีความสำคัญมาก  "ความคิดถึงแม้จะดีแค่ไหน แต่ถ้าไม่สามารถอธิบายให้คนอื่นเข้าใจได้ ก็ไร้ประโยชน์"    โดยมีการแยกสัดส่วนของเนื้อหาได้ดี มีการสรุปเป็นหัวข้อๆ ให้เข้าใจได้ง่าย โดยแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม คือ  สารที่ต้องการสื่อออกไป เป็นการกำหนดสิ่งที่ต้องการจะถ่ายทอดออกไปให้ชัดเจน และเรียยเรียงอย่างมีระบบ รูปแบบ หรือกรอบความคิดที่จะใช้สำหรับสื่อสาร "สาร" ออกไป เช่นเป็นตารางข้อมูล เ...