Skip to main content

ทักษะการจัดการ 8 อย่างของเถ้าแก่ Enterprise skill


ทักษะการจัดการ 8 อย่างของเถ้าแก่ Enterprise skill

ในการจะเป็นเถ้าแก่ หรือผู้ประกอบการได้นั้น จำเป็นที่จะต้องมีทักษะต่างๆมากมาย เพราะ ตัวเราเองจะต้องเป็นผู้ที่ตัดสินใจ และนำพาองค์กรของเราไปข้างหน้า โดย ทักษะต่างๆที่สำคัญๆ จะแบ่งเป็น 8 ส่วนใหญ่ ดังนี้

ทักษะการจัดการ 8 ประการ1.การมอบหมายงาน2.ให้คำแนะนำ3.ติดตามผลงาน4.ให้คำชมเชย5.แก้ปัญหา6.ให้คำชี้แนะตักเตือน7.ให้ความช่วยเหลือ8.การรายงานผล

เพื่อลงในรายละเอียดเพิ่มอีกสักหน่อย เราได้แยกแยะรายละเอียดอีกเล็กน้อยลงเป็นหัวข้อด้านล่าง

1.) การมอบหมายงาน

-บอกรายละเอียดงานที่ทำ
-คุณภาพที่ต้องการ
-ปริมาณที่ต้องการ
-กำหนดเวลาที่งานต้องเสร็จ
-สมเหตุสมผล
-ย้ำถึงการติดตามงาน

2.) ให้คำแนะนำ งานที่มอบหมายงาน ควรให้คำชี้แนะในเรื่อง

-เครื่องมือและอุปกรณ์
-วิธีการ
-การเปลี่ยนแปลง
-รายละเอียดของการทำงาน
-วัตถุดิบที่ต้องใช้
-แหล่งที่มาของวัตถุดิบและอุปกรณ์
-ผู้ที่เกี่ยวข้อง

3.) ติดตามผลงาน

-เปรียบเทียบสิ่งที่เกิดขึ้นจริงกับสิ่งที่ควรจะเป็น
-เปรียบเทียบผลงานที่ได้กับแผนงาน

4.) ให้คำชมเชย

-ตั้งอยู่บนข้อมูลที่ปรากฎ
-คำชมเชยจะมีประสิทธิภาพ ถ้าเหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น
* ตบไหล่
* พยักหน้า
เช่น คุณทำงานได้ดีมาก

5.) การแก้ปัญหา-เมื่อมีค่าต่างไปจากสิ่งที่คาดหมาย

-การแก้ปัญหาที่เป็นระบบ
* หาสาเหตุ
* รวบรวมข้อมูล
* หาวิธีแก้ไขที่เป็นไปได้
* ประเมินผลวิธีแก้ไขที่เป็นไปได้
* ดำเนินการตามวิธีที่ดีที่สุด

6.) การชี้แนะตักเตือน

-พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
-การเผชิญหน้า
-การสื่อสารสองทาง
-พฤติกรรมที่สามารถสังเกตุหรือเห็นได้ชัด

7.) การให้ความช่วยเหลือ

-ให้ความร่วมมือ
-แสดงความใส่ใจ
-พูดคุยส่วนตัว
* แสดงความชัดเจน
* ให้คำแนะนำ
* ให้การสนับสนุน
* ช่วยประณีประนอม (ระหว่าง 2 ฝ่าย)
* มีส่วนร่วม

8.) การรายงานผล-การส่งผ่านข้อมูลที่สำคัญไปยังส่วนที่เกี่ยวข้องในองค์กร

-รายงานอย่างซื่อสัตย์และตรงไปตรงมา
-ตรงเวลา


ที่มา read-for-rich.blogspot.com

Comments

Popular posts from this blog

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด หลักการ 5P เป็นหลักการทางด้านการตลาด (จริงๆแล้วมันก็เป็นการขยาย 4P ที่ทุกคนรู้จักกันดีแล้วนั้นเอง) แต่มีการนำมาขยายความในส่วนต่างๆ ให้มากยิ่งขึ้น 1.)  Product / Service (ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ)  :  สินค้าหรือบริการของคุณคืออะไร มุ่งตอบสนองความต้องการหรือช่วยแก้ปัญหาอะไร ทำไมผู้บริโภคถึงต้องการสินค้าของคุณ 2.)  Person (ใคร)  กลุ่มลูกค้าของคุณคือใคร มีลักษณะเฉพาะอย่างไร โดยควรระบุรายละเอียดให้ได้มากที่สุด เช่น อายุ เพศ กำลังซื้อ เพื่อให้สามารถระบุเป้าหมายให้ได้ชัดเจนที่สุด 3.)  Price (ราคา)  มีการกำหนดราคาของสินค้าและบริการไว้อย่างไร มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่ 1 และ 2 หรือไม่อย่างไร และคุณวางตำแหน่งสินค้าของคุณไว้ ณ ตำแหน่งไหนของตลาด เป็นของ แบบกลางๆจะได้รับความสนใจหรือไม่ หรือควรเป็นสิ่งที่มีตำแหน่งทางการตลาดที่ชัดเจนเช่น ดีที่สุด ใหญ่ที่สุด เล็กที่สุด เร็วที่สุด เป็นต้น 4.)  Place (สถานที่)  กลุ่มลูกค้าของคุณจะสามารถเข้าถึง สินค้าและบริการของคุณได้อย่างไร ทางไหน มีความเหมาะสมกับหัวข้อที่ 2 และ 3 หรือไม่อย่างไร 5.)  Promotion (ส่งเสริมกา

ส่วนประกอบของ android แอพพลิเคชัน (Android Application Component)

    ส่วนประกอบของ แอพพลิเคชัน (Application Component) สามารถแบ่งออกได้เป็น ๔ ประเภทดังนี้ ๑. Activity (User Interface)  คือ สิ่งท่ีใช้ในการแสดงผลออกมาเพื่อให้ผู้ใช้งานได้เห็น และได้ใช้งานโดย แต่ละแอปพลิเคชนััน อาจจะมีActivity เดียว หรือหลายๆ Activity และส่ิงที่อยู่ใน Activity นั้นจะเรียกว่า View ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น button, text field, scroll bars, menu items, check boxes และอื่นๆ ๒. Service (Service Provider)  เป็นส่วนที่ไม่มีการแสดงผลแต ถูกเรียกใช้ให้ รันอยู่ในลักษณะของ background process โดย service นั้นอาจจะมีการกระทำ อะไรบางอย่าง เช่น ติดต่อรับส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย หรือคำนวณค่าต่างๆ แล้วทำการส่งข้อมูลไปแสดงยัง Activity ก็ได้ หรือการเปิดเพลงในขณะที่เรากำลังทำงานบน แอพพลิเคชั่นอื่น ๓. Broadcast receiver (DataProvider)  คือ ตัวที่ใช้สำหรับคอยรับและตอบสนองต่อ เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึน เช่น เมื่อแบตเตอรี่ต่ำ ,การเปล่ียนภาษา, มีการโทรออก, มีข้อความเข้าและอื่นๆ ถึงแม้ broadcast receiver จะไม่มีส่วนของการแสดงผลแต่ก็สามารถที่จะเรียก Activity ข้ึนมาแสดงผลให้ผู้ใช้ทราบได้

วิธีการเปลี่ยนบัญชี gmail การลบบัญชี gmail สำหรับ android

การเปลี่ยน gmail สำหรับมือถือ android เป็นปัญหาชวนปวดหัวของเราหลายๆคน ที่เพิ่งจะเปลี่ยนมือถือ หรือไม่ต้องการใช้ gmail หลักของเราไปผูกกับมือถือ android ซึ่งมีความจำเป็นต้องมี gmail ไปผูกไว้ในเครื่องเสมอ    วันนี้ผมจะขอนำเสนอวิธีการในการแก้ gmail ที่ผูกไว้กับเครื่องออกมา โดยสามารถทำได้หลายวิธีตามแต่ความประสงค์ของผู้นำไปใช้ครับ (วิธีการ และผลกระทบย่อมต่างกันออกไปตามแต่ละวิธีครับ) 1.)  เป็นวิธีที่เป็นทางการที่สุดในการแก้ gmail ที่ผูกไว้คือ การทำ Factory Reset  ผลที่จะได้รับคือ เครื่องจะแก้ค่าต่างๆ กลับไปเป็นจุดเริ่มต้นของชีวิตของมันคือ ตอนที่มันออกมาจากโรงงาน gmail, app ต่างๆจะถูกลบไปหมด แน่นอน ข้อมูล รูปภาพใดๆ ที่มีในเครื่องก็จะหายไปหมดด้วย วิธีการ  :  ให้ไปที่   Menu  -->  Setting  -->  Privacy  -->  Factory data reset  รอสักครู่ทุกอย่างก็จะเรียบร้อย คำแนะนำ  :  ต้องทำการสำรองข้อมูล (backup data) ที่จำเป็นทั้งหมดไว้ก่อน เพราะจะถูกลบและเรียกคืนไม่ได้ 2.)  เป็นวิธีการที่ได้ผลกับแค่บางรุ่นเท่านั้น (โดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด) โดยใช้การสร้าง gmail ใหม่เข้าไปในเครื่องแล้วลบ gma