Skip to main content

8 สิ่งที่แยกผู้ชนะ (อย่างคุณ) ออกจากกลุ่มคนทั่วๆไป

   คุณเป็นคนที่พิเศษกว่าคนอื่นหรือไม่ คุณจะเป็นผู้ชนะตัวจริง หรือเป็นเพื่อแค่กลุ่มคนที่มองดูผู้ชนะเหล่านั้นอย่างชื่นชม นี้คือ 8 สิ่งที่แยกคุณ(ผู้ชนะ) ออกจากกลุ่มคนทั่วๆไป(คนดู)



1.)  ผู้ชนะจะไม่มีการเตรียมแผนสำรอง เพราะเราจะต้องทำในแผนหลักให้ได้สำเร็จตามเป้าหมายที่ได้ตั้งเอาไว้แต่แรก อย่าเสียเวลาไปคิด หรือเตรียมในสิ่งที่ไม่มีความจำเป็นต้องใช้มัน ทุมเททำตามแผนหลักดีกว่า แล้วเราจะแปลกใจว่าเมือไม่มีแผนสำรองเราจะมีความมุ่งมั่นกับแผนหลักได้มากเพียงใด และถึงจะพลาดมันก็มักจะไม่แย่มากอย่างที่เราคิด

2.)   ผู้ชนะจะพยายามทำซ้ำแล้วซ้ำอีก เพื่อให้เกิดความชำนาญ ดังนั้นจงอย่าล่ะทิ้งความพยายาม มันไม่มีทางลัดไปสู่ความสำเร็จ ไม่มีใครบอกว่ามันง่าย แต่ทุกคนสามารถที่จะทำมันได้

3.)  ผู้ชนะทำงานหนักเสมอ โดยมากแล้วผู้ชนะจะเป็นผู้ที่ทำงานหนักกว่าคนโดยทั่วไป มันมักจะเป็นความสัมพันธ์กันระหว่างเวลาที่ใช้ในการทำงานกับความสำเร็จในงาน

4.)  ผู้ชนะมักไม่เดินตามใคร เพราะมันเป็นการยากที่เราจะโดดเด่นได้เมื่อเราอยู่ในฝูงชน ผู้ชนะจะเลือกอยู่ในที่ที่ไม่มีคนมากจนเกินไป เพราะคนที่มากหมายถึงคู่แข่งที่มากตามไปด้วย ดังนั้นโอกาสในความสำเร็จก็จะน้อยลงเช่นกัน

5.)  ผู้ชนะจะตั้งเป้าหมายที่ใหญ่เสมอ จากนั้นจึงคิดย้อนกลับมาว่าจะทำอย่างไรเพื่อให้สามารถบรรลุตามเป้าประสงค์ที่ได้ตั้งเอาไว้นั้นได้ โดยจะต่างจากคนทั่วไปที่ตั้งต้นที่วันนี้เรามีอะไร และจะสามารถทำอะไรได้บ้าง อันเป็นการปิดกันโอกาสไว้ตั้งแต่แรก

6.)  ผู้ชนะไม่หยุดเมื่อสามารถบรรลุเป้าหมายแล้ว โดยผู้ชนะจะต่อยอดเป้าหมายมากขึ้น ท้าทายขึ้น ง่ายๆคือ จะไม่พอใจกับความสำเร็จที่สามารถบรรลุได้ โดยมุ่งจะพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ

7.)  ผู้ชนะจะมีความสามารถในการขายสูง นั้นคือมีความสามารถในการโน้มนาวให้คนอื่นเห็นดีด้วย คล้อยตามได้ มีความสามารถในการต่อรอง รวมถึงการนำตัวเองมาอยู่ในความสนใจของฝูงชนได้

8.)  ผู้ชนะจะไม่หลงตัวเองมากเกินไป (แน่นอนว่าจะต้องมีความหลงตัวเอง แต่จะไม่มากจนกลายเป็นการหลอกตัวเอง) โดยเมื่อเขาทำบางอย่างที่ผิดพลาดเขาจะมีความกล้าพอที่จะกล่าวคำขอโทษ

ที่มา Inc.com

Comments

Popular posts from this blog

ส่วนประกอบของ android แอพพลิเคชัน (Android Application Component)

    ส่วนประกอบของ แอพพลิเคชัน (Application Component) สามารถแบ่งออกได้เป็น ๔ ประเภทดังนี้ ๑. Activity (User Interface)  คือ สิ่งท่ีใช้ในการแสดงผลออกมาเพื่อให้ผู้ใช้งานได้เห็น และได้ใช้งานโดย แต่ละแอปพลิเคชนััน อาจจะมีActivity เดียว หรือหลายๆ Activity และส่ิงที่อยู่ใน Activity นั้นจะเรียกว่า View ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น button, text field, scroll bars, menu items, check boxes และอื่นๆ ๒. Service (Service Provider)  เป็นส่วนที่ไม่มีการแสดงผลแต ถูกเรียกใช้ให้ รันอยู่ในลักษณะของ background process โดย service นั้นอาจจะมีการกระทำ อะไรบางอย่าง เช่น ติดต่อรับส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย หรือคำนวณค่าต่างๆ แล้วทำการส่งข้อมูลไปแสดงยัง Activity ก็ได้ หรือการเปิดเพลงในขณะที่เรากำลังทำงานบน แอพพลิเคชั่นอื่น ๓. Broadcast receiver (DataProvider)  คือ ตัวที่ใช้สำหรับคอยรับและตอบสนองต่อ เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึน เช่น เมื่อแบตเตอรี่ต่ำ ,การเปล่ียนภาษา, มีการโทรออก, มีข้อความเข้าและอื่นๆ ถึงแม้ broadcast receiver จะไม่มีส่วนของการแสดงผลแต่ก็สามารถที่จะเรียก Activity ข้ึนมาแสดงผลให้ผู้ใช้ทราบได้

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด หลักการ 5P เป็นหลักการทางด้านการตลาด (จริงๆแล้วมันก็เป็นการขยาย 4P ที่ทุกคนรู้จักกันดีแล้วนั้นเอง) แต่มีการนำมาขยายความในส่วนต่างๆ ให้มากยิ่งขึ้น 1.)  Product / Service (ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ)  :  สินค้าหรือบริการของคุณคืออะไร มุ่งตอบสนองความต้องการหรือช่วยแก้ปัญหาอะไร ทำไมผู้บริโภคถึงต้องการสินค้าของคุณ 2.)  Person (ใคร)  กลุ่มลูกค้าของคุณคือใคร มีลักษณะเฉพาะอย่างไร โดยควรระบุรายละเอียดให้ได้มากที่สุด เช่น อายุ เพศ กำลังซื้อ เพื่อให้สามารถระบุเป้าหมายให้ได้ชัดเจนที่สุด 3.)  Price (ราคา)  มีการกำหนดราคาของสินค้าและบริการไว้อย่างไร มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่ 1 และ 2 หรือไม่อย่างไร และคุณวางตำแหน่งสินค้าของคุณไว้ ณ ตำแหน่งไหนของตลาด เป็นของ แบบกลางๆจะได้รับความสนใจหรือไม่ หรือควรเป็นสิ่งที่มีตำแหน่งทางการตลาดที่ชัดเจนเช่น ดีที่สุด ใหญ่ที่สุด เล็กที่สุด เร็วที่สุด เป็นต้น 4.)  Place (สถานที่)  กลุ่มลูกค้าของคุณจะสามารถเข้าถึง สินค้าและบริการของคุณได้อย่างไร ทางไหน มีความเหมาะสมกับหัวข้อที่ 2 และ 3 หรือไม่อย่างไร 5.)  Promotion (ส่งเสริมกา

วิธีการเปลี่ยนบัญชี gmail การลบบัญชี gmail สำหรับ android

การเปลี่ยน gmail สำหรับมือถือ android เป็นปัญหาชวนปวดหัวของเราหลายๆคน ที่เพิ่งจะเปลี่ยนมือถือ หรือไม่ต้องการใช้ gmail หลักของเราไปผูกกับมือถือ android ซึ่งมีความจำเป็นต้องมี gmail ไปผูกไว้ในเครื่องเสมอ    วันนี้ผมจะขอนำเสนอวิธีการในการแก้ gmail ที่ผูกไว้กับเครื่องออกมา โดยสามารถทำได้หลายวิธีตามแต่ความประสงค์ของผู้นำไปใช้ครับ (วิธีการ และผลกระทบย่อมต่างกันออกไปตามแต่ละวิธีครับ) 1.)  เป็นวิธีที่เป็นทางการที่สุดในการแก้ gmail ที่ผูกไว้คือ การทำ Factory Reset  ผลที่จะได้รับคือ เครื่องจะแก้ค่าต่างๆ กลับไปเป็นจุดเริ่มต้นของชีวิตของมันคือ ตอนที่มันออกมาจากโรงงาน gmail, app ต่างๆจะถูกลบไปหมด แน่นอน ข้อมูล รูปภาพใดๆ ที่มีในเครื่องก็จะหายไปหมดด้วย วิธีการ  :  ให้ไปที่   Menu  -->  Setting  -->  Privacy  -->  Factory data reset  รอสักครู่ทุกอย่างก็จะเรียบร้อย คำแนะนำ  :  ต้องทำการสำรองข้อมูล (backup data) ที่จำเป็นทั้งหมดไว้ก่อน เพราะจะถูกลบและเรียกคืนไม่ได้ 2.)  เป็นวิธีการที่ได้ผลกับแค่บางรุ่นเท่านั้น (โดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด) โดยใช้การสร้าง gmail ใหม่เข้าไปในเครื่องแล้วลบ gma