Skip to main content

ทำอย่างไร ถึงจะสามารถทำงานสำเร็จได้มากขึ้น โดยลงมือทำงานให้น้อยลง

   คุณเคยรู้สึกบางมั้ยว่าทำไมงานที่เราทำในแต่ล่ะวัน มันดูเหมือนจะไม่มีการลดลงบางเลย ทุกๆวันเราต้องทำงานอย่างหนัก ตั้งแต่เช้า จนเย็น (บางวันมีถึงดึก) เพื่อให้งานเสร็จ แต่พอวันรุ่งขึ้นเราก็เจอกับงานที่เยอะเกินกว่าที่จะทำไหวอีกแล้ว

   ปัญหานี้เป็นเรื่องของการมีประสิทธิผลในการทำงานล้วนๆเลย ประสิทธิผลคืออะไร เราอาจจะเข้าใจผิดกันไปว่า การทำงานหนัก คือการทำงานได้มาก แต่จริงๆแล้ว การทำงานหนัก เป็นแค่ (input) ที่เราใส่เข้าไป มันไม่ได้หมายความว่า ผลลัพท์ (output) ที่จะได้ออกมานั้นจะดีตามไปด้วย

   ดังนั้นการจะแก้ปัญหานี้ จึงไม่ใช่การทำงานให้หนักขึ้น แต่จะต้องเป็นการทำงานที่ฉลาดขึ้นซะมากกว่า ด้วยหลักการในการสร้างประสิทธิผลในการทำงานให้สูงขึ้น ทั้ง ๕ ข้อ

   ๑.  จงใส่ใจกับการจัดการตัวเอง คือ วางแผน จัดการเวลาที่จะทำงานใดๆ ให้เสร็จ โดยหมายร่วมไปถึงการจัดเก็บเอกสาร อุปกรณ์ต่างๆที่มีความจำเป็นในการทำงานนั้นๆด้วย ไม่อย่างนั้นเราจะต้องมาเสียเวลาในการหาเอกสาร หรืออุปกรณ์ต่างๆอีก ทำให้ใช้เวลามากกว่าที่ควรจะเป็นได้

   ๒.  ลุยงานที่มีความสำคัญมากที่สุดก่อน และถ้าเลือกได้จงเลือกทำงานที่ยาก และไม่อยากทำมากที่สุดก่อนเลย จำกฏ 80/20 เอาไว้ให้ดี และอย่าไปหลงติดกับความสมบูรณ์แบบเข้าล่ะ จำไว้เวลาเป็นเงินเป็นทอง ให้เน้นทำงานให้เสร็จ (ไม่ใช่ว่าทำชุ่ยๆนะครับ) โดยมีคุณภาพเหมาะสมไว้ก่อน

   ๓.  อย่าลืมให้ความสำคัญกับเวลาพัก เคยมั้ยครับที่ง่วงนอนมากๆ แต่ยังฝืนนั้งทำงานอยู่ ถ้าเคยตอบตัวเองหน่อยนะ ว่ามันได้งานบางมั้ย (ถ้าจะมีได้ก็คงเป็นพวกข้อผิดพลาดต่างๆ) ดังนั้นอย่างโหมงานจนสุขภาพเสีย อันนี้หมายถึงต้องแบ่งเวลาให้ครอบครัวด้วยนะครับ

   ๔.  อย่ากลัวที่จะปฏิเสธงานที่ไม่มีความสำคัญ เราจะทำงานที่มีประสิทธิผลได้อย่างไร หากเรามั่วแต่เสียเวลาทำงานที่มันไม่ได้ความสำคัญอะไรเลย (งานพวกนี้เป็นเหมือนงานฝากมาจากคนอื่น ซึ่งเขาตัดสินใจแล้วว่ามันไม่สำคัญ ถึงได้มาคนที่จะมารับภาระต่อไปแทน) อันนี้ก็ต้องดูด้วยนะครับว่าใครเอามาฝาก หากเป็นหัวหน้าเรา อันนี้คืองานนะครับ

   ๕.  มอบหมายงานให้ทีมงาน เพราะเราไม่สามารถที่จะทำอะไรทุกๆอย่างได้ด้วยตัวเราเองคนเดียว ดังนั้นการมอบหมายภาระหน้าที่ให้กับทีมงานของเรา จึงเป็นสิ่งที่จำเป็น แต่จงจำไว้ว่าเราจะต้องอธิบายถึงผลลัพท์ที่เราต้องการ และอาจจะรวมถึงวิธีการที่จะทำให้ได้มาซึ่งงานนั้นๆ แก่ทีมงานของเราอย่างชัดแจ้งด้วย หน้าที่ของเราหลังจากมอบหมายงานออกไปแล้วก็คือ การเฝ้าติดตามผล และค่อยแก้ปัญหาให้กับทีมงานด้วย

ด้วยหลักการทั้ง ๕ ข้อนี้ จะช่วยให้เราสมารถทำงานสำเร็จได้มากขึ้น โดยที่ลงมือทำงานเองจริงๆ น้อยลงได้ มาสร้างเวลาสำหรับวันพรุ่งนี้กันในวันนี้เถอะ

Comments

Popular posts from this blog

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด หลักการ 5P เป็นหลักการทางด้านการตลาด (จริงๆแล้วมันก็เป็นการขยาย 4P ที่ทุกคนรู้จักกันดีแล้วนั้นเอง) แต่มีการนำมาขยายความในส่วนต่างๆ ให้มากยิ่งขึ้น 1.)  Product / Service (ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ)  :  สินค้าหรือบริการของคุณคืออะไร มุ่งตอบสนองความต้องการหรือช่วยแก้ปัญหาอะไร ทำไมผู้บริโภคถึงต้องการสินค้าของคุณ 2.)  Person (ใคร)  กลุ่มลูกค้าของคุณคือใคร มีลักษณะเฉพาะอย่างไร โดยควรระบุรายละเอียดให้ได้มากที่สุด เช่น อายุ เพศ กำลังซื้อ เพื่อให้สามารถระบุเป้าหมายให้ได้ชัดเจนที่สุด 3.)  Price (ราคา)  มีการกำหนดราคาของสินค้าและบริการไว้อย่างไร มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่ 1 และ 2 หรือไม่อย่างไร และคุณวางตำแหน่งสินค้าของคุณไว้ ณ ตำแหน่งไหนของตลาด เป็นของ แบบกลางๆจะได้รับความสนใจหรือไม่ หรือควรเป็นสิ่งที่มีตำแหน่งทางการตลาดที่ชัดเจนเช่น ดีที่สุด ใหญ่ที่สุด เล็กที่สุด เร็วที่สุด เป็นต้น 4.)  Place (สถานที่)  กลุ่มลูกค้าของคุณจะสามารถเข้าถึง สินค้าและบริการของคุณได้อย่างไร ทางไหน มีความเหมาะสมกับหัวข้อที่ 2 และ 3 หรือไม่อย่างไร 5.)  Promotion (ส่งเสริมกา

ส่วนประกอบของ android แอพพลิเคชัน (Android Application Component)

    ส่วนประกอบของ แอพพลิเคชัน (Application Component) สามารถแบ่งออกได้เป็น ๔ ประเภทดังนี้ ๑. Activity (User Interface)  คือ สิ่งท่ีใช้ในการแสดงผลออกมาเพื่อให้ผู้ใช้งานได้เห็น และได้ใช้งานโดย แต่ละแอปพลิเคชนััน อาจจะมีActivity เดียว หรือหลายๆ Activity และส่ิงที่อยู่ใน Activity นั้นจะเรียกว่า View ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น button, text field, scroll bars, menu items, check boxes และอื่นๆ ๒. Service (Service Provider)  เป็นส่วนที่ไม่มีการแสดงผลแต ถูกเรียกใช้ให้ รันอยู่ในลักษณะของ background process โดย service นั้นอาจจะมีการกระทำ อะไรบางอย่าง เช่น ติดต่อรับส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย หรือคำนวณค่าต่างๆ แล้วทำการส่งข้อมูลไปแสดงยัง Activity ก็ได้ หรือการเปิดเพลงในขณะที่เรากำลังทำงานบน แอพพลิเคชั่นอื่น ๓. Broadcast receiver (DataProvider)  คือ ตัวที่ใช้สำหรับคอยรับและตอบสนองต่อ เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึน เช่น เมื่อแบตเตอรี่ต่ำ ,การเปล่ียนภาษา, มีการโทรออก, มีข้อความเข้าและอื่นๆ ถึงแม้ broadcast receiver จะไม่มีส่วนของการแสดงผลแต่ก็สามารถที่จะเรียก Activity ข้ึนมาแสดงผลให้ผู้ใช้ทราบได้

วิธีการเปลี่ยนบัญชี gmail การลบบัญชี gmail สำหรับ android

การเปลี่ยน gmail สำหรับมือถือ android เป็นปัญหาชวนปวดหัวของเราหลายๆคน ที่เพิ่งจะเปลี่ยนมือถือ หรือไม่ต้องการใช้ gmail หลักของเราไปผูกกับมือถือ android ซึ่งมีความจำเป็นต้องมี gmail ไปผูกไว้ในเครื่องเสมอ    วันนี้ผมจะขอนำเสนอวิธีการในการแก้ gmail ที่ผูกไว้กับเครื่องออกมา โดยสามารถทำได้หลายวิธีตามแต่ความประสงค์ของผู้นำไปใช้ครับ (วิธีการ และผลกระทบย่อมต่างกันออกไปตามแต่ละวิธีครับ) 1.)  เป็นวิธีที่เป็นทางการที่สุดในการแก้ gmail ที่ผูกไว้คือ การทำ Factory Reset  ผลที่จะได้รับคือ เครื่องจะแก้ค่าต่างๆ กลับไปเป็นจุดเริ่มต้นของชีวิตของมันคือ ตอนที่มันออกมาจากโรงงาน gmail, app ต่างๆจะถูกลบไปหมด แน่นอน ข้อมูล รูปภาพใดๆ ที่มีในเครื่องก็จะหายไปหมดด้วย วิธีการ  :  ให้ไปที่   Menu  -->  Setting  -->  Privacy  -->  Factory data reset  รอสักครู่ทุกอย่างก็จะเรียบร้อย คำแนะนำ  :  ต้องทำการสำรองข้อมูล (backup data) ที่จำเป็นทั้งหมดไว้ก่อน เพราะจะถูกลบและเรียกคืนไม่ได้ 2.)  เป็นวิธีการที่ได้ผลกับแค่บางรุ่นเท่านั้น (โดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด) โดยใช้การสร้าง gmail ใหม่เข้าไปในเครื่องแล้วลบ gma