Skip to main content

พลังงาน ฉบับการ์ตูน


ผู้เขียน  :  Katsuhiro Saito แปลโดย ดร.อรรณพ เรืองวิเศษ
ISBN  :  978-974-443-613-9
ปีที่พิมพ์ครั้งแรก  :  2010
จัดพิมพ์โดย  :  สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
จำนวนหน้า  :  195 หน้า

ราคา  :  235 บาท

สรุปเนื้อหาสำคัญ
   หนังสือทีสอนเกี่ยวกับพลังงานต่างๆ โดยใช้รูปแบบการ์ตูนมาช่วยให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น (อย่างไรก็ตาม ก็ยังเป็นเรื่องที่ยากอยู่ดี โดยเฉพาะกับคนที่ไม่ได้ใช้ หรือกำลังเรียนรู้ในเรื่องเหล่านี้) โดยในช่วงต้นหนังสือจะแนะนำถึงพลังงานโดยทั่วไป เช่นความหมายของพลังงาน กฏพื้นฐานของพลังงาน (กฏการอนุรักษ์พลังงาน) พลังงานในรูปแบบต่างๆ เช่น พลังงานศักย์ พลังงานภายในโมเลกุล พลังงานความร้อน พลังงานนิวเคลียร์ และพลังงานสะอาด

   ในส่วนของบทที่่ 2 จะเป็นการอธิบายเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี กับพลังงานไฟฟ้า บอกตรงๆเลยว่า อ่านไปก็งงไป เพราะความรู้เรื่องพันธะเคมี ร่วมไปถึงเรื่องปฏิกิริยาเคมี ได้ทำการคืนความรู้ที่คุณครูเคยสอนไว้ กลับไปให้ท่านจนเกือบไม่เหลืออะไรแล้ว แต่ก็พออ่านได้ไอเดียพอสมควร 

   จากนั้นหนังสือจะพาเราไปเรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานจากการเผาไหม้ (เป็นพลังงานสกปรกที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบัน หรือบางคนอาจจะชอบเรียกว่า พลังงานจากเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์) อย่างที่เราทราบดีว่าพลังจากเชิ้อเพลิงดึกดำบรรพ์นั้นเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ดังนั้นจึงเกิดการรณรงค์ 3R (Reduce ; Reuse ; Recycle)

   พลังงานไฟฟ้า เราสามารถพูดได้เลยว่าพลังงานไฟฟ้านี้เป็นพลังงานที่จำเป็นในการดำรงค์ชีวิตไปแล้ว ไม่ใช้แค่เป็นพลังงานที่ให้ความสะดวกสะบายในชีวิตเท่านั้น โดยในหนังสือจะกล่าวถึงกระบวนการสร้างพลังงานไฟฟ้าเป็นหลัก เช่น



การผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน้ำ





















การผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานความร้อน



















การผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์

พลังงานจากเชื้อเพลิงไฮโดรเจน



















นอกจากนี้ยังมีเรื่องของการสร้างพลังงานจากพลังงานลม, น้ำขึ้นน้ำลง, ความร้อนใต้พื้นพิภพ, พลังงานจากมวลชีวภาพ

สรุปว่าเป็นหนังสือที่อ่านได้ความรู้และสนุกดี แต่เป็นเนื้อหาที่ไม่สามารถเข้าใจได้ง่ายๆจริงๆ ขอให้สนุกกับการอ่านนะครับ

ที่มา http://gu-read.blogspot.com/

Comments

Popular posts from this blog

ส่วนประกอบของ android แอพพลิเคชัน (Android Application Component)

    ส่วนประกอบของ แอพพลิเคชัน (Application Component) สามารถแบ่งออกได้เป็น ๔ ประเภทดังนี้ ๑. Activity (User Interface)  คือ สิ่งท่ีใช้ในการแสดงผลออกมาเพื่อให้ผู้ใช้งานได้เห็น และได้ใช้งานโดย แต่ละแอปพลิเคชนััน อาจจะมีActivity เดียว หรือหลายๆ Activity และส่ิงที่อยู่ใน Activity นั้นจะเรียกว่า View ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น button, text field, scroll bars, menu items, check boxes และอื่นๆ ๒. Service (Service Provider)  เป็นส่วนที่ไม่มีการแสดงผลแต ถูกเรียกใช้ให้ รันอยู่ในลักษณะของ background process โดย service นั้นอาจจะมีการกระทำ อะไรบางอย่าง เช่น ติดต่อรับส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย หรือคำนวณค่าต่างๆ แล้วทำการส่งข้อมูลไปแสดงยัง Activity ก็ได้ หรือการเปิดเพลงในขณะที่เรากำลังทำงานบน แอพพลิเคชั่นอื่น ๓. Broadcast receiver (DataProvider)  คือ ตัวที่ใช้สำหรับคอยรับและตอบสนองต่อ เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึน เช่น เมื่อแบตเตอรี่ต่ำ ,การเปล่ียนภาษา, มีการโทรออก, มีข้อความเข้าและอื่นๆ ถึงแม้ broadcast receiver จะไม่มีส่วนของการแสดงผลแต่ก็สามารถที่จะเรียก Activity ข้ึนมาแสดงผลให้ผู้ใช้ทราบได้

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด

หลักการ 5P ส่วนผสมทางการตลาด หลักการ 5P เป็นหลักการทางด้านการตลาด (จริงๆแล้วมันก็เป็นการขยาย 4P ที่ทุกคนรู้จักกันดีแล้วนั้นเอง) แต่มีการนำมาขยายความในส่วนต่างๆ ให้มากยิ่งขึ้น 1.)  Product / Service (ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ)  :  สินค้าหรือบริการของคุณคืออะไร มุ่งตอบสนองความต้องการหรือช่วยแก้ปัญหาอะไร ทำไมผู้บริโภคถึงต้องการสินค้าของคุณ 2.)  Person (ใคร)  กลุ่มลูกค้าของคุณคือใคร มีลักษณะเฉพาะอย่างไร โดยควรระบุรายละเอียดให้ได้มากที่สุด เช่น อายุ เพศ กำลังซื้อ เพื่อให้สามารถระบุเป้าหมายให้ได้ชัดเจนที่สุด 3.)  Price (ราคา)  มีการกำหนดราคาของสินค้าและบริการไว้อย่างไร มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่ 1 และ 2 หรือไม่อย่างไร และคุณวางตำแหน่งสินค้าของคุณไว้ ณ ตำแหน่งไหนของตลาด เป็นของ แบบกลางๆจะได้รับความสนใจหรือไม่ หรือควรเป็นสิ่งที่มีตำแหน่งทางการตลาดที่ชัดเจนเช่น ดีที่สุด ใหญ่ที่สุด เล็กที่สุด เร็วที่สุด เป็นต้น 4.)  Place (สถานที่)  กลุ่มลูกค้าของคุณจะสามารถเข้าถึง สินค้าและบริการของคุณได้อย่างไร ทางไหน มีความเหมาะสมกับหัวข้อที่ 2 และ 3 หรือไม่อย่างไร 5.)  Promotion (ส่งเสริมกา

วิธีการเปลี่ยนบัญชี gmail การลบบัญชี gmail สำหรับ android

การเปลี่ยน gmail สำหรับมือถือ android เป็นปัญหาชวนปวดหัวของเราหลายๆคน ที่เพิ่งจะเปลี่ยนมือถือ หรือไม่ต้องการใช้ gmail หลักของเราไปผูกกับมือถือ android ซึ่งมีความจำเป็นต้องมี gmail ไปผูกไว้ในเครื่องเสมอ    วันนี้ผมจะขอนำเสนอวิธีการในการแก้ gmail ที่ผูกไว้กับเครื่องออกมา โดยสามารถทำได้หลายวิธีตามแต่ความประสงค์ของผู้นำไปใช้ครับ (วิธีการ และผลกระทบย่อมต่างกันออกไปตามแต่ละวิธีครับ) 1.)  เป็นวิธีที่เป็นทางการที่สุดในการแก้ gmail ที่ผูกไว้คือ การทำ Factory Reset  ผลที่จะได้รับคือ เครื่องจะแก้ค่าต่างๆ กลับไปเป็นจุดเริ่มต้นของชีวิตของมันคือ ตอนที่มันออกมาจากโรงงาน gmail, app ต่างๆจะถูกลบไปหมด แน่นอน ข้อมูล รูปภาพใดๆ ที่มีในเครื่องก็จะหายไปหมดด้วย วิธีการ  :  ให้ไปที่   Menu  -->  Setting  -->  Privacy  -->  Factory data reset  รอสักครู่ทุกอย่างก็จะเรียบร้อย คำแนะนำ  :  ต้องทำการสำรองข้อมูล (backup data) ที่จำเป็นทั้งหมดไว้ก่อน เพราะจะถูกลบและเรียกคืนไม่ได้ 2.)  เป็นวิธีการที่ได้ผลกับแค่บางรุ่นเท่านั้น (โดยไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด) โดยใช้การสร้าง gmail ใหม่เข้าไปในเครื่องแล้วลบ gma